การเรียนร่วมของเด็กพิเศษ

การเรียนร่วมของเด็กพิเศษ

วันเสาร์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2557

การบันทึกประจำวัน

ประจำวันที่ 30/1/2557 คาบที่ 13
กิจกรรม
การดูแลรักษาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Down' syndrome
-รักษาตามอาการ
-แก้ไขความผิดปกติที่ผิดร่วมด้วย ยกตัวอย่าง โรคหัวใจ โรคลิ้นหัวใจรั่ว
-ให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน และใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ใกล้เคียงกับคนปกติมากที่สุด
-เน้นการดูแลแบบองค์รวม ( holistic approach)
1.ด้านสุขภาพอนามัย
บิดามารดาให้พาบุตรไปพบแพทย์ตั้งแต่แรกเริ่ม ติดตามการรักษาเป็นระยะๆ
2.การส่งเสริมพัฒนาการ
เด็กกลุ่มอากาารดาวน์สามารถพัฒนาได้ ถ้าได้รับการฝึกสอนที่เหมาะสม
3.การดำรงชีวิตประจำวัน
ฝึกการให้ช่วยเหลือตนเองได้มากที่สุด
4.การฟื้นฟูสมรรถภาพ
-การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ เช่น การฝึกพูด กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด
-การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษาโดยจัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล ( IEP )
-การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม เช่น การฝึกทักษะการดำรงชีวิตประจำวัน
-การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ โดยการฝึกอาชีพ
การเลี้ยงดูในช่วง 3 เดือนแรก
   การนอนของเด็กดาวน์จะต้องให้เด็กนอนตะแคง และขาต้องไขว้กัน มือวางกลางระหว่างอก ควรสลับเปลี่ยนท่าซ้ายขวา
ผู้หญิง ที่เป็นดาวน์ ถ้ามีลูกจะมีโอกาสเป็นดาวน์
ผู้ชาย ที่เป็นดาวน์ 90% จะเป็นหมัน
การปฏิบัติของบิดา มารดา
-ยอมรับความจริง
-เด็กกลุ่มดาวน์มีพัฒนาการเป็นขั้นตอน เช่นเดียวกับเด็กทั่วไป
-ให้ความรักความอบอุ่น
-การตรวจภายใน ตรวจหามะเร็งปากมดลูกและเต้านม
-การคุมกำเนิดและทำหมัน
-การสอนเพศศึกษา
-ตรวจโรคหัวใจ
การส่งเสริมพัฒนาการ
-พัฒนาทักษะด้านต่างๆ เช่น คณิตศาสตร์และภาษา
-สามารถปรับตัวและช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
-สังคมยอมรับมากขึ้น ไปเรียนร่วมหรือเรียนรวมได้
-ลกปัญหาพฤติกรรม
-คุณภาพชีวิตดีขึ้น สภาพแก้ปัญหาและทำงานได้ดีขึ้น
Autistic
ส่งเสริมความเข้มแข็งของครอบครัว
ครอบครัวมีบทบาทสำคัญที่สุดในกระบวนการดูแลช่วยเหลือออทิสติก
ส่งเสริมความสามารถของเด็ก
การเสริมสร้างโอกาสให้เด็กได้เล่นของเล่นที่หลากหลาย ทำกิจกรรมที่หลายหลาย
การปรับพฤติกรรมและฝึกทักษะทางสังคม
เพิ่มพฤติกรรมที่เหมาะสมและลดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
การให้แรงเสริม
การฝึกพูด
โดยเฉพาะในรายที่มีพัฒนาการด้านภาษาและการสื่อความหมายล่าช้า
ถ้าเด็กพูดได้เร็ว โอกาสที่จะมีพัฒนาการทางภาษาใกล้เคียงปกติก็จะเพิ่มมากขึ้น
ลดการใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสม
ช่วยลดพฤติกรรมก้าวร้าวที่เกิดจากการไม่สามารถสื่อสารความต้องการได้
การสื่อความหมายทดแทน ( AAC ) เช่น การใช้รูปภาพ PECS
การส่งเสริมพัฒนาการ
ให้เด็กมีพัฒนาการไปตามวัย
เน้นในเรื่องการมองหน้า สบตา การมีสมาธิ การฟัง และทำตามคำสั่ง
ส่งเสริมพัฒนาการด้านอื่นที่ล่าช้าควบคู่กับการพัฒนาทักษะด้านการสื่อสาร สังคม และการปรับพฤติกรรม
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
เพิ่มทักษะพื้นฐานด้านสังคม การสื่อสาร และทักษะทางความคิด
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
โรงเรียนร่วม ห้องเรียนคู่ขนาน=มีเฉพาะเด็กปกติที่เรียนร่วมกับเด็กAutistic
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม
ทักษะในชีวิตประจำวัน และการฝึกฝนทักษะทางสังคม
ให้เด็กสามารถทำได้ด้วยตนเองเต็มความสามารถ โดยต้องการความช่วยเหลือน้อยที่สุด
การรักษาด้วยยา
Methylphenidate ( Ritalin ) ช่วยลดอาการไม่นิ่ง/ซน/หุนหันพลันแล่น/ขาดสมาธิ
Risperidone/ Haloperidol ช่วยลดอาการอยู่ไม่นิ่ง หงุดหงิด หุนหันพลันแล่น พฤติซ้ำๆพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
ยาในกลุ่ม Anticonvulsant ( ยากันชัก ) ใช้ได้ผลในรายที่มีพฤติกรรมทำร้ายตนเอง
การบำบัดทางเลือก
การสื่อความหมายทดแทน  AAC
ศิลปกรรมบำบัด   Art Therapy
ดนตรีบำบัด   Music Therapy
การฝังเข็ม   Acupuncture
การบำบัดด้วยสัตว์   Animal Therapy
พ่อแม่
ลูกต้องพัฒนาได้
เรารักลูกของเรา ไม่ว่าเขาจะเป็นอย่่างไร
ถ้าเราไม่รักลูก แล้วใครจะรัก
หยุดไม่ได้
ดูแลจิตใจและร่างกายของตนเองให้เข้มแข็ง
ไม่กล่าวโทษตนเองและคู่สมรส
ควรหันหน้าปรึกษากับครอบครัว
สรุปความรู้เป็นmine map ได้ดังนี้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น